Teacher Jintana Suksom

Teacher Jintana Suksom

วันเสาร์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2556


Science Experience Management for Early Childhood


วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย 


เวลาเรียน 8.30 - 12.20 น



สรุปงานวิจัย

เรื่อง  ผลของการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตรประกอบคําถามอเนกนัยที่มีตอความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย



ปริญญานิพนธ 
ของ 
อารียรัชตชวกาญจนกิจ  
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ







ความสําคัญของการวิจัย

    การศึกษาในครั้งนี้ทําใหทราบถึงรูปแบบการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตรประกอบคําถามอเนกนัยเพื่อพัฒนาความคิดสรางสรรค ซึ่งเปนประโยชนสําหรับครูและบุคลากรตางๆ ที่เกี่ยวของ ใหมีแนวทางในการจัดกจกรรม วิทยาศาสตรประกอบคําถามอเนกนัยซึ่งสามารถใชกระบวนการในการแก  ปญหาเพื่อคนหาคําตอบ
ความมุงหมายของการวิจัย

1. เพื่อเปรียบเทียบความคิดสรางสรรคกอนและหลังการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตรประกอบคําถาม
อเนกนัยและการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตรตามแผนการจัดประสบการณโดยรวมและจําแนกเปนรายดาน
2. เพื่อเปรียบเทียบความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตรประกอบ
คําถามอเนกนัยกับเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตรตามแผนการจัดประสบการณ์

จุดมุงหมายของการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย

ประภาพรรณ สุวรรณศุข (2527 : 357) กลาวถึงจุดมุงหมายของการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตรสําหรับเด็ก
ปฐมวัยดังตอไปนี้

1. เพื่อสงเสริมใหเด็กมีความกระตือรือรน อยากรูอยากเห็น ตลอดจนการใชคําถามวา “อะไร” 
“ทําไม” และ “อยางไร” เปนตน

2. เพื่อสงเสริมใหเด็กพัฒนาความคิดอยางมีเหตุผล อยางมีระบบตามวิธีทางวิทยาศาสตรโดยฝกให
เด็กรูจักการสังเกต การแยกประเภท การศึกษาความสัมพันธการสนทนา การคาดคะเน การแปลความของข้อมูลการทดลองการควบคุมและการตั้งสมมุติฐานเปนตน

3. เพื่อสงเสรมใหิ เด็กมีความรูเกี่ยวกับตนเองและสิ่งตางๆรอบตัวมากขึ้น

4. เพื่อสงเสริมใหเด็กเรียนรูเกี่ยวกับมโนคติและความคิดในการแปลความเกี่ยวกับสภาพแวดลอมของ 
ตัวเด็ก

5. เพื่อสงเสริมใหเด็กมีทักษะในการแกปญหา

6. เพื่อสงเสริมใหเด็กมีความรับผิดชอบในการอนรุักษธรรมชาติ

7. เพื่อสงเสริมใหเด็กมีความคิดสรางสรรคทางวิทยาศาสตร

8. เพื่อเปนการเตรียมพรอมที่จะเรียนวิทยาศาสตรในระด  ับประถมศึกษา

9. เพ่อสื งเสริมใหเด็กรูจักใชเวลาวางให  เปนประโยชนโดยการทํางานอดิเรก

10. เพื่อสงเสริมใหเด็กเกิดความซาบซึ้งและมีเจตคติที่ดีตอสิ่งแวดลอมรอบตัวเขา

11. เพื่อสงเสริมใหนกเร ั ียนเปนคนกลาพูดกลาทํากลาแสดงความคิดเห็น

12. เพื่อสงเสริมใหเด็กเปนคนที่มีจิตใจมั่นคง ไมเชื่อตอคําบอกเลาของคนอื่นงายๆ จนกวาจะไดพิสูจน
ใหเห็นจริง

13. เพื่อสงเสริมมใหเด็กเปนคนที่มีจิตใจกวางขวางยอมรับความคิดเห็นของคนอื่น

14. เพื่อสงเสริมใหเด็กสามารถทํางานเปนกลุมไดคือรูจักการเปนผูนํา ผูตาม รูจักการรอคอย การ
แบงปนสิ่งของเครื่องใชตลอดจนการชวยเหลือทํางานรวมกัน

15. เพื่อสงเสริมใหเด็กลดความกลวตั อสิ่งตางๆ อยางไมมีเหตุผล เชน กลวความม ั ืด กลัวเสียงฟารอง
เปนตน

16. เพื่อสงเสริมใหเด็กมีทักษะในการใชอวัยวะตางๆ ของรางกายทํางานอีกทั้งมีทักษะในการใชเครื่องมือตางๆในการทํางานดวยภรณีคุรุรัตนะ (2523 : 99-100) กลาวถงจึ ุดมุงหมายในการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตรไวดังนี้

91. เพื่อพัฒนาความสามารถในการแกปญหาโดยวิธีทางวิทยาศาสตรครูควรใชธรรมชาต  ิ ความอยากรู
อยากเห็นและคําถามของเด็กใหเป นประโยชนมากที่สุดชวยใหเด็กมีความสามารถในการหาคําตอบโดยวิธีการตางๆเชนสังเกต ฟงและทดลอง เป็นต้น

2. เพื่อพัฒนาใหเด็กมีทัศนคติทางวิทยาศาสตรคือ มองสิ่งที่พบทกวุ ัน พิจารณาคุณคาของแหลงข อมูล
เปนคนกวาง และไมเชื่อโชคลางของขลงั การชวยให  เด็กๆ มีขั้นเริ่มตนของการพัฒนาทัศนคติครูอาจใชคําแนะนํา
และคําถามตางๆเชน
- นักเรียนคิดเรื่องอะไร
- เราจะลองอีกครงั้ วามีอะไรเกิดขึ้น
- ลองผลัดกันเขามาดูทีละคนและดูวา พวกเราทั้งหมดเห็นเหมือนกันหรือเปลา

3. เพื่อชวยใหเด็กมีความรูในเนื้อหาวิทยาศาสตรควรเลือกจากสิ่งแวดลอมของเด็ก กระบวนการและ
เนื้อหาควรมีความสัมพันธกันอยางใกลชิด ครูควรเลือกเนื้อหาใหเหมาะสมกับระดับของเด็ก และชวยให  เด ็กเริ่มรวมความคิดรวบยอดตางๆ เขาดวยกันคือ ชวยให  เด็กเห็นความสําคัญของประสบการณใหม นอกจากนี้ครูควรเขียนเนื้อหางายๆติดไวแมวาเด็กยังอานไมไดก็ตามแตเด็กสามารถฟงครูอานได

4. เพื่อชวยพัฒนาความสนใจและความชื่นชมในวทยาศาสตร ิ รอบตัวเด็กโดย
- แสดงการยอมรับความสนใจของเด็กชวยเพิ่มความสนใจของเด็ก
- พยายามหาประสบการณที่ทําใหเด็กสนใจมากขนึ้
- กระตุนใหเด็กแสดงออกโดยการพดู ฟงคิดปฏิบัติทดลองและพิจารณา
- เสนอวัสดุและปญหาท  ี่จะเราความสนใจของเด็ก

สรุป  ไดวาจุดมุงหมายของการจดกั ิจกรรมวิทยาศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย เพื่อสงเสริมใหเด็กมีความ
พรอมในการเรียนวิทยาศาสตรและว  ชาอิ ื่นในระดับสูงตอไป มีพัฒนาการคิดอยางมีเหตุผลโดยใชวิธีทางวิทยาศาสตร สงเสริมใหเด็กมีความรูเกี่ยวกับตนเองและสิ่งตางๆ รอบตัวมากขึ้น มีทกษะในการแก ไขปญหา มีวามคิดสรางสรรคทางวิทยาศาสตรกลาซักถาม แสดงความคิดเห็น แสวงหาความรูและยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น




คูมือแผนการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตรประกอบคําถามอเนกนัยกับแผนการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตรตามแผนการจัดประสบการณ์

ตัวอย่างแผน

จุดมุ่งหมาย

เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย

หลักการจัดกิจกรรม

1. กิจกรรมนี้จัดในช่วงกิจกรรมเสริมประสบการณ์
2. การปฏิบัตกิจกรรมดําเนินตามลําดับขั้นตอนดังนี้


1. การใชแผนการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตรประกอบคําถามอเนกนัย

1.1 ขั้นระบุปญหา เปดโอกาสใหเด็กไดใชประสาทสัมผัสอยางใดอยางหนึ่งหรือมากกวา สังเกต
และรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับวัตถหรุ ือประสบการณตั้งเปนปญหาหรือขอสงสัย

1.2 ขั้นตั้งสมมติฐาน ใหเด็กคาดคะเนคําตอบของปญหาโดยการแสดงความคิดเห็นรวมกันครูให
อิสระในการคิดโดยครูใชคําถามอเนกนัยกระตุนใหเด็กคิดหาคําตอบ

1.3 ขั้นการทดลอง เปดโอกาสใหเด็กไดทําการปฏิบัติทดลอง เพื่อตรวจสอบสมมติฐานภายในกลุม

1.4 ขั้นรวบรวมข้อมูลและวิเคราะหครูใชคําถามแบบอเนกนัยคอยกระตุนใหเด็กไดรวบรวมขอมูล
ตางๆที่ไดจากการสังเกตทดลองมาทําการวเคราะห ิ โดยเปดโอกาสใหเด็กไดแสดงความคิดเห็นอยางอิสระและรับฟงถึงเหตุผลในการแสดงความคิดเห็น

1.5 ขั้นสรุปผล เด็กและครูรวมก  ันสรุปผลการทดลอง โดยใชคําถามอเนกนัยในการกระตุนใหเด็ก
ไดคิดหลากหลายไมจํากัดอิสระในการคิดครูบันทึกผลการเรียนรูของเด็กในการคิดและตอบคําถาม

2. การใชแผนการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตรตามแผนการจัดประสบการณ

2.1 ขั้นนํา ขั้นเตรียมวัสดุอุปกรณในการทดลอง

2.2 ขั้นดําเนินกิจกรรม เปดโอกาสใหเด็กไดทดลองปฏิบัติกิจกรรมที่ครูกําหนดให

2.3 ขั้นสรุป เด็กและครูรวมกันสรปผลการทดลอง 

3. คูมือการใชวสดั อุปกรณที่ใชในการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตรประกอบคําถามอเนกนัยกับแผนการจัด
กิจกรรมวิทยาศาสตรตามแผนการจัดประสบการณ

3.1 กิจกรรมในแตละแผนการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตรจัดเปนหนวย แตละหนวยประกอบดวย
กิจกรรมที่เปนสาระเรื่องราวเกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยแบงออกเปน 8 หนวย 24 
กิจกรรม

3.2 วัสดุอุปกรณที่ใชในการจัดกิจกรรมซึ่งจัดเตรียมไวเปนกลุม ซึ่งแตละกจกรรมจะจ ิ ัดไว 3 กลุม
จะมีการแนะนํากิจกรรมใหม พรอมดวยวสดั ุอุปกรณใหมทุกครั้ง

บทบาทครู


1. ความคิดคลองตัว
ครูถามหรือกลาว : จะสรางสิ่งของบางอยางโดยใชเครื่องกลไกอยางงายเพื่อลากวัตถุชิ้นหนึ่ง
นักเรียนตอบ : นําสิ่งของ เชนหลอดดายลูกรอก พื้นเอียงมาสรางเปนเครื่องกลที่ซับซอน

2. ความคิดยืดหยุน
ครูถามหรือกลาว : มีทางใดบางที่นักเรียนจะนําไขขนไปบนอากาศ ึ้ แลวปลอยให  ตกลงโดยไมใหไขแตก 
นักเรียนตอบ : นําไขขึ้นไปบนบอลลูน ซึ่งอาจระเบิดไดนําไขขึ้นไปกับเครื่องบิน นําไขใสในภาชนะ
บรรจุขาวโพดแลวยงขิ ึ้นไปในอากาศนําไขวางไวบนเครื่องรอนขนาดใหญ

3. ความคิดริเริ่ม
ครูถามหรือกลาว : มีทางใดบางที่นักเรียนจะบรรจุไขในหีบหอเพื่อไมใหแตกเมื่อมีการตก
นักเรียนตอบ : นักเรียนสวนใหญในชั้นตอบวา ใชยางเปนฟองน้ํารองรับลอมรอบไขไวแตมีนักเรียน
บางคนเสนอแนวคิดวา วางลูกโปงที่บรรจุอากาศไว หรือใชน้ําบรรจุในหบหี อให
ลอมรอบไขไว สรางตาขายเพื่อไมใหไขลอยอย  ตรงกลางห ู ีบหอโดยใชยางล ูกโป่ง
 4. ความคิดละเอียดลออ
ครูถามหรือกลาว : นักเรียนจะใชยางลูกโปงแขวนไข  ไดอยางไร
นักเรียนตอบ : ทําไดโดยใชกาวติดยางลูกโปงไวกับไข ติดยางอันหนึ่งไวดานบน อันหนึ่งไวดานลาง
อันหนึ่งไวดานซายอันหนึ่งไวดานขวาของไขติดยางอีกอันหนึ่งกบหั ีบไม

5. ความคิดหลากหลาย
ครูถามหรือกลาว : จากสิ่งที่นักเรียนไดทําแลว เชน การปลอยไข นักเรียนมีแนวความคิดอื่นที่เกี่ยวกับ
ปญหาที่พบอีกไหม

ดังนั้น

การใชคําถามเพื่อกระตุนความคิดสรางสรรค ควรเปนการตั้งคําถามที่ตองการใหมีคําตอบหลาย
แนวทาง โดยควบคูกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่สงเสริมใหเด็กเกิดการเรียนรูจากการสืบเสาะหาความรู
เพื่อแสวงหาความรูใหมที่หลากหลาย การใชคําถามเพื่อกระตุนความคิดสรางสรรค ครูจึงตองมีทัศนคติท่ีดีและ
ยอมรับในความสามารถของเด็กและตระหนักถึงความสําคัญของการพัฒนาศักยภาพทางการคิดสรางสรรค์


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น